Ride a bike Column
2022 ปั่นเพื่อสุขภาพ เพื่อเมืองยั่งยืน (อ่าน 97 )
วิกฤตโรคระบาดโควิด-19 ทำให้ผู้คนทั่วโลก หันมาดูแลใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ซึ่งนั่นไม่ใช่ “เทรนด์” แต่เป็นการติดอาวุธภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย เพื่อต่อสู้กับเชื้อไวรัส คอนเทนต์นี้ขอโฟกัส “จักรยาน” การออกกำลังกายที่สนุกและไม่น่าเบื่อ แต่ที่มากกว่านั้นก็คือ ประโยชน์ที่ได้รับไปเต็มๆจากการมีสุขภาพที่ดี
จากไต้หวันถึงเยอรมนี จักรยานเติบโตในห้วงโควิด (อ่าน 129 )
การปรับตัวของชาวเอเชียและยุโรปที่ต้องเผชิญกับวิกฤติโควิด-19 คือ การหันมาปั่นจักรยานกันมากขึ้น เพราะเป็นทางเลือกในการเดินทางสัญจรที่จะลดโอกาสติดเชื้อโควิดได้อย่างมาก เมื่อเทียบกับการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชนที่เป็นแหล่งรวมผู้คนหนาแน่น
กุญแจไขรหัสลับ สู่เมืองสัญจรเขียว....ยุคโควิด (อ่าน 137 )
สูตร 10, 10, 17, 63 เป็นตัวเลขที่น่าทึ่งของเมืองสัญจรคาร์บอนต่ำอย่างเมือง “โคเปนเฮเกน” ประเทศเดนมาร์ก เพราะเป็นตัวเลขขีดความสามารถและเป้าหมายที่ดีของรัฐและพลเมือง ที่ได้ร่วมกันรังสรรค์เมืองขึ้นมา ด้วยว่ามีสัดส่วนประชากรใช้การสัญจรในเขตเมืองโดยการเดินเท้าร้อยละ 10 ใช้รถยนต์ร้อยละ 10 ใช้การขนส่งมวลชนร
สิงคโปร์….ต้นไม้ เมือง คน (อ่าน 12 )
สีเขียวของต้นไม้ใหญ่ที่กระจายรายล้อมสิงคโปร์ ทำให้ฉันย่ำเดินไปในเมืองนวัตกรรมล้ำสมัยแห่งนี้อย่างไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อย เมืองที่เต็มไปด้วยแท่งตึก แต่กลับถูกห่อหุ้มด้วยต้นไม้ คือพลัง ที่ทำให้เมืองทั้งเมืองร่มเย็น เป็นต้นแบบเมืองสีเขียวที่ถูกบันทึกไว้แห่งหนึ่งของโลก
มอง “สิงคโปร์” เมืองกระชับ ที่น่าอยู่     (อ่าน 20 )
การวางรูปแบบเมืองของประเทศสิงคโปร์ มีความน่าสนใจเป็นอย่างมากในมุมมองของฉัน โดยเฉพาะระบบคมนาคมที่มีโครงข่ายการเดินทางเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐานสูง สะท้อนถึงความเป็นเมืองยั่งยืนและน่าอยู่
ลมหายใจของ “ฮานอย” (อ่าน 1487 )
จากเมืองทางตอนใต้ “ไซ่ง่อน-โฮจิมินห์” ฉันบินขึ้นเหนือมุ่งสู่ “ฮานอย” เมืองหนึ่งคือ ศูนย์กลางเศรษฐกิจอันดับหนึ่ง และอีกเมืองหนึ่งคือ เมืองหลวง การวางผังเมืองของ “ฮานอย” ถูกออกแบบไว้อย่างดีไม่ต่างจากโฮจิมินห์ ถนนหนทางร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ มีความเป็น “City of Trees” ที่รื่นรมย์เหมือนกัน
โฮจิมินห์....In My Eyes (อ่าน 1230 )
หากลบภาพรถจักรยานยนต์ที่คับคั่งเต็มท้องถนนออกจากเมืองโฮจิมินห์ ฉันว่า อดีตเมืองหลวงเก่าของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือเมืองไซ่ง่อน จัดเป็นเมืองที่มีการวางผังเมืองที่ดีที่สุดและเป็นเมืองที่น่าอยู่ที่สุดแห่งหนึ่งในอุษาคเนย์
“จักรยานเช่าสาธารณะ” เทรนด์ใหม่ หนุน “ภูเก็ตเมืองจักรยาน” (อ่าน 44 )
ตอนนี้ไม่ว่าจะเดินทางไปย่านไหนๆในเมืองภูเก็ต จะเห็นจักรยานคันเล็ก สีเหลือง จอดอยู่ตามจุดต่างๆ ซึ่งเป็นจักรยานเช่าสาธารณะ ของ “ofo” (โอโฟ่) ผู้นำบริการจักรยานสาธารณะแบบไร้สถานีอันดับหนึ่งของโลก ที่ได้นำร่องเปิดให้บริการในพื้นที่สาธารณะเมืองภูเก็ตกว่า 1,500 คัน
เมืองสองล้อ  (อ่าน 118 )
ท่ามกลางการเติบโตของเมืองใหญ่ในปัจจุบัน ปัญหาการจราจร กลายเป็นชนวนที่รอปะทุเมื่อถึงจุดวิกฤติ การแก้ไขปัญหาจราจรจะเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องหาต้นตอในการแก้ไข ทั้งการขยายถนน และจัดระบบด้วยโครงสร้างพื้นฐานราคาแพง ซึ่งจะกลายเป็นรูปแบบที่หลายเมืองกำลังเดินไปสู่จุดนั้น
ฟินแลนด์ – ระบบขนส่งมวลชน ฟินๆ (อ่าน 147 )
“เฮลซิงกิ” (Helsinki) เมืองหลวงของประเทศฟินแลนด์ มีระบบโครงข่ายขนส่งมวลชนเชื่อมโยงอย่างสมบูรณ์แบบที่สุดเมืองหนึ่ง การเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกหลายๆจุดในเมืองแห่งนี้จึงง่ายและสะดวกอย่างมาก เป็นเมืองหลวงที่ปลอดจากรถยนต์ และการจราจรที่แออัด
ลับแล – วิถีเมืองจักรยาน (อ่าน 350 )
การออกมาขยับจับจักรยานเพื่อการใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นเพียงการเริ่มต้นก้าวแรกของการมุ่งไปสู่เมืองจักรยาน แต่ก้าวต่อไปอีกหลายๆก้าว จำเป็นต้องมีพลังการตื่นตัวของเมืองจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน จึงจะทำให้เมืองๆนั้นพัฒนาไปสู่วิถีเมืองจักรยานได้อย่างสมบูรณ์
เมืองสีเขียว  ลมหายใจ “เซินเจิ้น” (อ่าน 234 )
ความเป็นเมืองศูนย์กลางแห่งการค้า-เศรษฐกิจ กับความเป็นเมืองแห่งระบบนิเวศสีเขียว เป็นสองสิ่งที่สามารถอยู่เคียงคู่กันได้อย่างลงตัว ดั่งเช่น "เซินเจิ้น” (Shenzhen) เมืองท่าสำคัญของประเทศจีน ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของมณฑลกวางตุ้ง
ย่ำแดนมังกร....มองจักรยานปักกิ่ง (อ่าน 134 )
แม้ภาพของ “ปักกิ่ง” เมืองหลวงแห่งแดนมังกร สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้มีจำนวนรถยนต์เข้ามายึดครองพื้นผิวถนนทั่วทั้งเมือง โดยสถิติจำนวนรถยนต์เพิ่มขึ้นมากกว่า 4 ล้านคันในช่วงเวลาเพียง 1 ทศวรรษ ส่งผลให้ปักกิ่งในทุกๆวันกลายเป็นเมืองรถติดอย่างหนักหนาสาหัส ติดอันดับต้นๆ ของเมืองรถติดมากที่สุดในโลก
คาร์ ฟรี เอฟเวอรี่เดย์ (อ่าน 81 )
วันปลอดรถโลก (World Car Free Day) ในวันที่ 22 กันยายน มีจุดเริ่มในกลุ่มประเทศยุโรปห้วงแห่งวิกฤติน้ำมันในต้น ค.ศ. 1970 ซึ่งได้ทำให้เกิดการรณรงค์ “อยู่ในเมืองโดยไม่ใช้รถ” เพื่อลดปัญหามลพิษทางอากาศ ทางเสียง ปัญหาการจราจร ลดการเกิดอุบัติเหตุ และลดการใช้พลังงาน วันนี้ของทุกปีผู้คนทั่วโลกจึงร่วมแสดงพลังเพ
เมืองของเรา : ขนคน-ไม่ขนรถ (2) (อ่าน 16 )
การขนส่งสาธารณะระบบราง หลังจากที่มนุษย์ใช้ม้าหรือสัตว์ประเภทอื่นลากรถไปตามพื้นผิวถนนหนทางอันขรุขระยาวนานนับศตวรรษจนถึงนับพันปี ต่อมามีผู้นำรถม้าลากจูงบนพื้นผิวถนนมาวิ่งให้บริการเป็นการขนส่งสาธารณะในเขตเมือง (Urban Public Transportation)
« หน้าแรก ก่อนหน้า 1 2 3 ถัดไป หน้าสุดท้าย »
banner ด้านขวา 1
banner ด้านขวา 2
Peenfa Creation